วันนี้เราจะนำภาพเก่าๆในบางช่วงบางตอนที่ได้เคยบันทึกเอาไว้เอากลับมาเหล่าให้เราได้ฟังกันอีกครั้งภาพที่ท่านได้เห็นอยู่ในขณะนี้เป็นภาพในรายการตอนเก่าๆที่ทีมงานเราได้เดินทางมาถ่ายทำและแผร่ภาพทางโทรศัพท์เมื่อปีพุทธศักราช2535ซึ่งในขณะนั้นคนไทยยังสามารถขึ้นไปชมปราสาทเขาพระวิหารโดยผ่านมาทางผามออีแดงได้และนี่ก็คือบางส่วนของคําบรรยายในรายการตอนนั้นบนชะโงกผาเบี้ยงหน้าสุดสายตาภาพตัดขอบฟ้าคือสถานที่ของปราสาทเขาพระวิหารที่กำลังรอให้เราไปสัมผัสสุดขอบฟ้านั้น
กำปั่นแห่งอารยธรรมในอดีต
กำลังให้ทีมงานได้เข้ามาเพื่อไขพิสูจน์บนเส้นทางที่คดเคี้ยวบนเนิดหินผ่านจุดผ่านแดนทั้งฝั่งไทยและกัมพูชาไม่นานนักเราก็สามารถที่จะผ่านประตูมาสู่ปากประตูมหาเทวาลัยอันยิ่งใหญ่บนเทือกเขาพนมดงรักจนได้พวกเขาไปปีนบรรไดที่สูงชันขึ้นไปทีละขั้นๆอย่างยากเย็นนับได้ถึง162ขั้นในแต่ละขั้นนั้นมีความสูงชันจนอดคิดอยู่ในใจไม่ได้ว่าสรีระร่างกายของเผ่าพันมนุษย์ผู้ที่เนรมิตมหา เทวาลัยแห่งนี้จะใหญ่โตสักแค่ไหนและได้ใช้วิธีการอย่างใดจึงจะสามารถก้าวขึ้นเอาขั้นบนไดขนศิลาจำนวนมากมายขึ้นมาสร้างปราสาทใหญ่ไว้บนยอดผา
ซึ่งได้สูงกว่าระดับน้ำทะเลนับเป็นพันได้อย่างที่เห็นถึงแม้จะเหนื่อยสำหรับในการเดินทางผ่านช่อง่างระหว่างอดีตและพรมแดนผ่านด่านบนไดสูงชันมาถึงด่านทางเดินศิลาเข้าสู่มหาปราสาทชั้นแรกปราสาทพระวิหานได้ตั้งอยู่บนหน้าผาแนวเส้นเขตแดนประเทศไทย กัมพูชา ที่คนไทยเรานั้นเรียกกันว่าเป้ยตาดีความเป็นมาของเทวะสถานแห่งนี้
ยังไม่มีผู้ใดที่จะทราบประวัติที่ชัดเจนแต่จากหลักฐานศิลาที่ได้ค้นพบในโดยบริเวณปราสาทพอที่จะทำให้นักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีสรุปได้ว่าเทวสถานแห่งนี้หน้าจะถูกสร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่16ถึง18ในสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 แห่งราชอาณาจักรขอม
ผู้ที่สร้างปราสาทนี้มีจุดประสงค์ใช้เป็นที่ประกอบพิธีบูชาพระอิศวรโดยใช้หินทรายเป็นวัสดุประสาทพระวิหานจึงได้เป็นปราสาทหินทรายที่แตกต่างไปจากที่อื่นๆจากบรรไดทางขึ้น162ขั้นเราก็ได้ขึ้นมาถึงชั้นประตูที่1 ซึ่งเชื่อกันว่าสร้างขึ้นเพื่อเชื่อมต่อโลกมนุษย์กับสวรรค์นั้นได้ถูกธรรมชาติกัดก่อนจนผุพังอย่างหน้าเสียดายไปมาก
แล้วดังที่ได้เห็นออกจากซุ้มประตูแรกทางด้านซ้ายจะเห็นสระน้ำขนาดใหญ่ที่เรียกกันว่าสระสงค์ ซึ่งก็ได้ก่อด้วยหินทรายแต่เดิมมีรูปปั้นสิงโตตั้งอยู่รอบขอบสระแต่ในปัจจุบันรูปปั้นต่างๆนั้นได้ถูกนำไปรวมกันอยู่ข้างล่างอย่างที่ไม่รู้จุดประสงค์