ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี

ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี บิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทย

 หากเดินเข้าไปในรั้วในมหาวิทยาลัยศิลปากรบริเวณหน้าคณะจิตกรรมประติมากรรมและภาพพิมที่นั่นได้มีรูปปั้นบุคคลสำคับท่านหนึ่งสถิตอยู่ชายผู้มีรูปลักษณ์ฝรั่งต่างชาติแต่มีชื่อเสียงเรียงนามภาษาไทยเคยสงสัยไหมว่าเขาเป็นใคร นี่คือผลงานของ ศิลปินหนุ่มผู้ที่เดินทางมาไกลจากอิตาลีศิลปินอิตาลีผู้ที่โอนสัญชาติมาเป็นไทยผู้ที่อุทิศทั้งชีวิตของท่านให้แก่วงการศิลปะและการวางลากฐานศิลปะสมัยใหม่ของไทย  ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี  เจ้าของวรีอมตะที่ว่า พรุ่งก็สายเสียแล้ว

นักศึกษาที่เรียกในสมัยนั้นเขาจะกลัวอาจารย์มากดูดมากแต่ก็รักเหลือเกินด่าเก่งใครที่ทำไม่ดีท่านก็จะว่าและถ้าทำดีท่านก็จะชมอาจารย์นั้นท่านมีความเมตตาอารีใจดีมีความปรารถนาดีมีความจริงใจมีอารมณ์เอื้ออาทรต่อลูกศิษย์ลูกหาจากนั้นท่านก็ได้นำเอาความรู้ที่ท่านได้ศาษามานำเอามาถ่ายถ่ายในการสอนทั้งหมดโดยที่ไม่ปิดบังและในส่วนเรื่องของการสอนนั้น

อาจารย์เองท่านก็น่ารักไม่เบาในเวลาอาจารย์ท่านสอนนั้นเข้าใจใส่อีกอย่างอาจารย์ท่านเองเขาจะไม่รักที่ตัวบุคคลตัวท่านจะรักที่งานใครที่ขยันทำงานท่านจะสสนใจท่านจะชื่นชม และ ผลงานของ ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี  ที่ได้ฝากเอาไว้บนพื้นแผ่นดินไทยและไม่ได้มีแค่เพียงงนศิลปะที่เป็นวัตถุเท่านั้นหากแต่ได้เป็นผู้รังสรรค์สร้างศิลปินไทย

ที่มากความสามารถไว้ให้แก่พื้นแผ่นดินไทยอีกหลายท่านเพื่อเป็นเมล็ดพันธุ์แห่งศิลปะที่จะเติบโตต่อยอดและสร้างศิลปินรุ่นใหม่ๆขึ้นมาสืบทอดอุดทการณ์แห่งศิลปะมิให้ศูนย์สลายหายไปนี่คือเกียรติประวัติอันยิ่งใหญ่ของท่านผู้มีคุณูปการต่อแผ่นดินไทยอย่างยากที่จะมีผู้ใดเสมอเหมือน ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี    บิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทย อิตาลีได้ชื่อเป็นดินแดนแห่งประวัติศาสตร์ศิลป์ด้วยเป็นแหล่งกำเนิดอารยธรรมตะวันตกและเป็นต้น

แบบศิลปะทุกแขนงเป็นดินแดนศิลปะสถาปัตยกรรมหลายสมัยหลากสไตล์เป็นดินแดนที่หล่อหลอมให้เกิดแรงบันดานใจจินตนาการและความรักในศิลปะพลังแห่งศิลปะที่ใช้ชัดอยู่ในบันกาศแวดล้อมได้สร้างสรรค์ให้เกิดศิลปินใหม่ๆขึ้นมาจากหลวงโลกคนแล้วคนเหล่าณเมืองฟลอเรนท์ประเทศอิตาลีเด็กชายคนหนึ่งได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อวันที่15กันยายน พ..2435

บิดามารดาตั้งชื่อให้เขาว่าคอร์ราโด เฟโรซี   คอร์ราโด เฟโรซี เข้าศึกษาในระดับชั้นประถมและมัธยมเหมือนเด็กทั่วไปแต่ความสนใจในวิชาศิลปะของเค้ามีมากจนทำให้ไม่สนใจวิชาสามัญแต่มักจะหนีโรงเรียนไปดูช่างปั้นช่างเขียนรูปตามสตูดิโอต่าๆในนครฟลอเรนซ์อยู่เสมอจนได้รู้จักกับศิลปปินมีชื่อเสียงหลายท่านและไปขอเป็นลูกมือศิลปินเหล่านั้นแม้บิดามานดาจะไม่พอใจเนื่องจากต้องการให้ท่านเจริญรอยทางด้านการค้ามากกว่า  

 

ขอบคุณเรื่อราวดีๆโดย  9luck