ย้อนรอยตำนานพระนางเรือล่มโศกนาฏกรรมที่น่าเศร้า

หากพูดถึงพระนางเรือล่มเชื่อว่าหลายคนคงรู้จักกันดีโดยเฉพาะชาวจังหวัดนนทบุรีเนื่องจากว่าเหตุการณ์เรือล่มในครั้งนั้นเกิดที่อำเภอปากเกร็ดจังหวัดนนทบุรีเองซึ่งฐานทางประวัติศาสตร์ยังมีให้เห็นจนถึงปัจจุบันนี้โดยมีซากเรือที่ถูกกูขึ้นมาไว้ที่วัดกู้ตรงอำเภอปากเกร็ดจังหวัดนนทบุรี

     ตามตำนานของพระนางเรือล่มนั้นว่ากันว่าพระองค์เป็นพระมเหสีของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 โดยเหตุการณ์เศร้าสลดในครั้งนั้นเกิดขึ้นมาจากการที่สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ทรงจะเสด็จ เดินทางไปที่พระราชวังบางปะอินซึ่งการเสด็จในครั้งนี้นอกจากพระองค์จะทรงเสด็จไปพร้อมกับพระราชธิดาแล้วยังมีเรือของพระพันปีหลวงและเรือนางในอีกหลายลำที่ตามเสด็จมาด้วยซึ่งในช่วงที่สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ทรงเสด็จไปที่พระราชวังบางปะอินนั้นในขณะนั้นพระองค์ทรงพระครรภ์อยู่ด้วยอายุครรภ์อยู่ที่ประมาณ 5 เดือน

และระหว่างที่นายเรือกำลังพายเรือมาตรงบริเวณตำบลบ้านพูดเรือหลวงของพระพันปีหลวงพ่อได้ปลายามที่จะพายแสงขึ้นมาด้านบนซึ่ง ลักษณะของการพายเรือแซงกันนั้นทำให้ท้ายเรือไปชนกันและฝีพายที่รับหน้าที่พายเรือของพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์นั้นมีอาการเมาสุราจึงไม่สามารถที่จะควบคุมหางเรือให้คงที่ได้เป็นเหตุให้เกิดอุบัติเหตุเรือล่มในแม่น้ำ

ซึ่งในขณะนั้นพระองค์ทรงว่ายน้ำได้แต่เนื่องจากเห็นว่าพระธิดาของพระองค์อยู่ในอันตรายกำลังจะจมน้ำจึงได้ว่ายน้ำกลับไปเพื่อช่วยเหลือพระธิดาจึงเป็นสาเหตุให้พระองค์และพระราชธิดาเสด็จสวรรคตพร้อมกันสร้างความเศร้าโศกให้รัชกาลที่ 5 และประชาชนทุกคนเป็นจำนวนมาก

โดยเหตุการณ์ในครั้งนี้อาจมีเสียงเล่าลือออกมาว่าเกิดจากความตั้งใจที่จะทำให้เกิดอุบัติเหตุเนื่องด้วยนอกจากพระนางจะเสียชีวิตไปพร้อมกับพระราชธิดาแล้วยังมีในครรภ์ของพระองค์อีกหนึ่งองค์ที่ต้องเสียชีวิตตามไปด้วยมีการเล่ากันว่าตอนที่พระนางกำลังจะจมน้ำนั้นไม่มีทหารคนใดลงไปช่วยเหลือพระนางเลยเนื่องจากว่ามีกฎห้ามให้ใครถูกเนื้อต้องตัวพระมเหสีดังนั้นทุกคนจึงกลัวการโดนตัดหัวจึงทำให้ไม่มีใครกล้าที่จะลงไปช่วยพระนางจนทำให้พระนางถึงแก่ความตายเหตุการณ์ในครั้งนี้

กว่าที่จะมีการกู้ซากเรือขึ้นมาและหาร่างของพระนางเจอนั้นต้องใช้ระยะเวลาเป็นอย่างมากโดยมีการพบศพของพระนางอยู่ใต้ของเรือใต้น้ำในสภาพศพพระนางกำลังกอดพระราชธิดาอยู่ในอ้อมอกและเสียชีวิตไปพร้อมกันเป็นภาพที่สร้างความเศร้าสะเทือนใจให้แก่ผู้พบเห็นเป็นจำนวนมากหลังจากที่กู้ซากเรือและนำพระศพขึ้นมาได้จึงมีการเรียกว่าที่นำพระศพของพระนางขึ้นมาว่าวัดกู้และจึงเป็นที่มาของตำนานพระนางเรือล่ม