ประวัติวัดบางกุ้ง จังหวัดสมุทรสงคราม 

         หากใครเคยเดินทางมาเที่ยวที่จังหวัดสมุทรสงครามเชื่อว่าคงเคยได้ยินชื่อวัดบางกุ้งกันมาบ้าง ประวัติวัดบางกุ้ง โดยวัดแห่งนี้นั้นอยู่ไม่ไกลจากตลาดอัมพวามากนักดังนั้นเชื่อว่าใครที่เคยเดินทางมาเที่ยวที่ตลาดอัมพวาย่อมต้องเคยแวะมาไหว้พระที่วัดบางกุ้งอย่างแน่นอนเนื่องจากว่าวัดแห่งนี้นั้นมีชื่อเสียงโด่งดังเกี่ยวกับ พระพุทธรูปที่มีความศักดิ์สิทธิ์นั่นก็คือหลวงพ่อดำนั่นเอง

        นอกจากนี้วัดแห่งนี้ยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงโด่งดังแห่งหนึ่งในจังหวัดสมุทรสงครามเพราะเป็นสถานที่ท่องเที่ยวแนว unseen ที่หาดูได้ยากจากที่อื่นเพราะที่นี่จะมีโบสถ์อยู่บทหนึ่ง  ประวัติวัดบางกุ้ง ซึ่งมีความแปลกแตกต่างจากบทอื่นๆด้วยบทนี้มีชื่อว่าโบสถ์ปรกโพธิ์ความแตกต่างของโบสถ์นี้นั่นก็คือจะมีต้นไม้ขึ้นอยู่รอบโบสถ์แห่งนี้และต้นไม้ที่ขึ้นนั้นก็เป็นต้นไม้คนละสายพันธุ์กันด้วยต้นไม้ทั้ง 4 ต้นนั้นจะขึ้นล้อมรอบตัวโบสถ์และรากของต้นไม้ก็ห่อหุ้มตัวบทเอาไว้ทำให้ชาวบ้านอยากจะมาเห็นด้วยตาตนเอง

           อย่างไรก็ตามสำหรับประวัติความเป็นมาของวัดบางกุ้งแห่งนี้นั้นว่ากันว่ามีประวัติศาสตร์ยาวนานมาตั้งแต่สมัยในช่วงของกรุงศรีอยุธยาตอนปลายซึ่งมีการคาดการณ์กันว่าน่าจะเกิดขึ้นในช่วงประมาณพ.ศ 2308   โดยในสมัยนั้นยังไม่มีวัดบางกุ้งขึ้นมาช่วงนั้นเป็นช่วงที่ไทยกับพม่าได้มีการรบกันอยู่บ่อยครั้งและเป็นช่วงที่พม่านำกองกำลังทหารเข้ามาโจมตีล้อมกรุงศรีอยุธยาซึ่งในสมัยนั้นตรงกับการปกครองของสมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ทำให้พระองค์นั้นได้สั่งให้ทหารย้ายกองทัพมาตั้งค่ายที่ตำบลบางกุ้ง

           โดยจุดที่มาตั้งค่ายใหม่นั้นอยู่ตรงบริเวณวัดบางกุ้งซึ่งมีการสร้างกำแพงล้อมรอบวัดเอาไว้  อย่างไรก็ตามด้วยกองกำลังพม่านั้นมีมากจนเกินไปกองกำลังทหารของไทยนั้นไม่สามารถที่จะต่อสู้ได้ที่สำคัญกองกำลังพม่านั้นมีการยกทัพมาทางแม่น้ำแม่กลองหลังจากนั้นเมื่อมาถึงค่ายของทหารไทยก็บุกทลายค่ายของทหารไทยจนในที่สุดขายตรงบริเวณบางกุ้งก็ไม่สามารถที่จะต้านทานข้าศึกเอาไว้ได้ทำให้ค่ายที่บางกุ้งนั้นแต่ทหารพม่าจึงสามารถเข้ามาโจมตีกรุงศรีอยุธยาได้และในที่สุดกรุงศรีอยุธยาก็แตกและค่ายบางกุ้งก็กลายเป็นค่ายร้างนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

            อย่างไรก็ตามหลังจากที่มีการสิ้นสุดสงครามแล้วและพระเจ้าตากสินได้มีการกอบกู้เอกราชพระองค์ก็ได้มีการสถาปนากรุงธนบุรีขึ้นเป็นราชธานีและพระองค์ยังให้ทหารมาบูรณะซ่อมแซมค่ายที่บางกุ้งและให้ทหารมาประจำอยู่ที่ค่ายแห่งนี้รวมถึงได้มีการชักชวนชาวจีนที่เคยเป็นอาสาสมัครช่วยรบกับพม่ามาอยู่ที่ค่ายบางกุ้งแห่งนี้ด้วยดังนั้นหลังจากนั้นเป็นต้นมาขายที่นี่จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าค่ายจีนบางกุ้งนั่นเอง 

 

ได้รับการสนับสนุนโดย.  หวยออนไลน์บาทละ 1000

การชงชาของญี่ปุ่น มีประวัติความเป็นมาอย่างไร

   ใน การชงชาของญี่ปุ่น นั้นเป็นการแสดงถึงการที่มีเอกลักษณ์ที่แท้จริงเป็นที่รู้จักในสิ่งที่คนจะนึกถึงของประเทศญี่ปุ่นและมีความเป็นวิถีชีวิตที่มีความเฉพาะตัวของญี่ปุ่นและยังเป็นหลักฐานในเรื่องศิลปะและพิธีชงชานั้นเป็นวิธีที่เรียบง่ายแต่แปลงไปด้วยหลักในการดำเนินชีวิตของญี่ปุ่นและยังเป็นการฝึกสมาธิของชาวญี่ปุ่นได้อีกด้วยและนอกจากนี้ยังเป็นวิธีที่มีความศักดิ์สิทธิ์อีกด้วย 

การชงชาของญี่ปุ่น การดื่มชานั้นเป็นวัฒนธรรมของประเทศจีนโดยแต่ตั้งเดิมซึ่งมีการเผยแพร่เข้ามาในประเทศญี่ปุ่นโดยพระสงฆ์ผู้ที่มีชื่อว่า เอซู ซึ่งเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญโดยที่นำชาเขียวที่มาจากประเทศจีนนำมาให้จักรพรรดิซางะที่เมืองคาราซากิของญี่ปุ่นและนำมาดัดแปลงเพื่อให้เข้าถึงการดำเนินชีวิตของญี่ปุ่นซึ่งในอดีตการดื่มชานั้นเป็นที่นิยมอย่างมากในหมู่ของขุนนางนักรบตลอดจนพ่อค้าที่ร่ำรวยเท่านั้นแต่ต่อมานั้น ท่านเซ็น โน ริคิว (Sen No Rikyu) นั้น

ทำให้พิธีชงชามีความศักดิ์สิทธิ์และมีแบบแผนอย่างที่เห็นในปัจจุบันโดยตัดการเลี้ยงชาที่ทำให้พุ่งเฟือยออกไปแต่จะเน้นความเรียบง่ายจริงใจรู้สึกถึงความเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติ ด้วยจิตใจที่สงบบริสุทธิ์ ซึ่งยังมีหลักของศาสนาพุทธนิกายเซน(Zen) เข้ามามีส่วนร่วมอีกด้วย แล้วพิธีชงชานี้คนญี่ปุ่นจะเรียกพิธีนี้ว่าจะ ซะโด(Sadou) หรือ ชาโนะยุ (Chanoyu) และในที่มาของคำว่า ซะ(sa)นั้นแปลว่าชาและโด(dou) แปลว่าวิถีซึ่งจะหมายความว่าวิถีแห่งชาก็ว่าได้

(ซึ่งคำว่า ซะโด หรือชะโด นั้นได้มีความหมายเหมือนกันแต่ในปัจจุบันนั้นคนส่วนใหญ่จะทำการออกเสียงว่า ซะโด(Sadou)เป็นส่วนใหญ่) จุดมุ่งหมายของพิธีชงชานั้นจะเป็นการสานสัมพันธ์ของผู้ที่มาเยือนซึ่งในความงดงามและต้อนรับผู้ที่มาเยือนซึ่งและจะแสดงความสวยงามในของสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวซึ่งจะเป็นการสานสัมพันธ์ระหว่างผู้ที่มาเยือนบ้านหรือแขกและเจ้าของบ้าน การจัดรูปแบบของการจัดพิธีชงชานั้นมักจะจัดในห้องที่ทำการตกแต่งเป็นห้องของการทำพิธีชงชาที่ทำไว้

โดยเฉพาะซึ่งเป็นที่ที่เปรียบเสมือนพิพิธภัณฑ์ขนาดเล็กๆซึ่งจะเป็นการแสดงวัฒนธรรมแบบวัก(Wa) ของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งนอกจากนี้ประเทศญี่ปุ่นนั้นยังมีโรงเรียนที่สอนเกี่ยวกับการชงชาโดยเฉพาะและสำหรับผู้ที่ต้องการที่จะเรียนรู้การชงชาหรือพิธีชงชาในเวลาสั้นๆของญี่ปุ่น นั้นจึงสามารถทำได้โดยมีตามสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆของประเทศญี่ปุ่นนั่นเอง

 

สนับสนุนโดย.    หวยออนไลน์บาทละ 1000